nostr relay proxy

わかる。しかも束で入ってる。
GM Follow the #Bitcoin signal ⚡ #Nostr #Plebchain #Zapathon
GM Follow the #Bitcoin signal ⚡ #Nostr #Plebchain #Zapathon
GM Follow the #Bitcoin signal ⚡ #Nostr #Plebchain #Zapathon
GM Follow the #Bitcoin signal ⚡ #Nostr #Plebchain #Zapathon
GM Follow the #Bitcoin signal ⚡ #Nostr #Plebchain #Zapathon
GM Follow the #Bitcoin signal ⚡ #Nostr #Plebchain #Zapathon
GM Follow the #Bitcoin signal ⚡ #Nostr #Plebchain #Zapathon
GM Follow the #Bitcoin signal ⚡ #Nostr #Plebchain #Zapathon
GM Follow the #Bitcoin signal ⚡ #Nostr #Plebchain #Zapathon
GM Follow the #Bitcoin signal ⚡ #Nostr #Plebchain #Zapathon
Sushi place I went to had horse 🐎 on the menu 🤢
{"pubkey":"82b30d30444170e6a8c819e8406e362a3695454a4617894ce2706f3840c6c003","sig":"ab1353531f4413c5baf69d098405b8bad53cfd8751313dcac127fb3e072dbcf730b19cb19c394714b63de8b0e55440728b79c95f0a65d0f4e0f7906a9e4f532b","kind":1,"content":"緩衝する気ないよな?みたいなきれいに折られた紙がよく入っているので…","created_at":1728214959,"tags":[],"id":"e121256c8e3abb56e289de95864ff246d60c34dd9d6035fc67516c06701a9d98"}
I spend a lot of time analyzing the different privacy methods that currently exist in bitcoin, including Monero as a privacy tool. There is nothing that convinces me 100%, they all have counterparts. All of these include: - Lightning network - Liquid network - Swaps - Coinjoins - eCash - Statechains - Monero swaps - combination of the above. It is not that they are not effective but they have trade-offs such as: - some have little protection from a state actor. - expensive - complicated for the average user - Some are unusable for the plebs in high rate environments
today i learned how to use scope filters in intellij IDEs for one specific task - to match on all files of a particular filetype, but exclude another filter: file:*.go&&!file:*_test.go this lets me run a search on go files except for tests not the most simple description of the syntax in the documentation https://www.jetbrains.com/help/idea/scope-language-syntax-reference.html#examples but the examples made it clear enough i could figure it out probably will extend the use of this with some others, but especially, excluding comments from searches arbitrarily would be useful because fairly often i accidentally rename generic words that get used haphazardly in libraries i'm working from or forking, or where code is using a very generic short word that steals from using that word as a package name many people who write Go code don't really understand how to properly name things and the number of colliding package names and package names that are long or uninformative or where they stutter such as thisthing.ThisThing for packages primary types... ya know, if you write Go code and you never noticed that it's `test.T` please, go spend 30 minutes flaggelating yourself with a cat o nine with glass shards wrapped into the tails, for the good of humanity #til #intellij #goland #ide #dev
+
💯💯💯
{"id":"885117c410292a07c617fadb3cd3da5285b8cc6165a3c4e968f6a51ac8c879dd","pubkey":"de7ecd1e2976a6adb2ffa5f4db81a7d812c8bb6698aa00dcf1e76adb55efd645","created_at":1728214777,"kind":1,"tags":[["q","c86abf875f66e3155beacae7c5b76dc6531cd649779b4bdc4c75035cdd607872","wss://ditto.pub/relay","","c6f7077f1699d50cf92a9652bfebffac05fc6842b9ee391089d959b8ad5d48fd"],["p","c6f7077f1699d50cf92a9652bfebffac05fc6842b9ee391089d959b8ad5d48fd","wss://ditto.pub/relay"],["r","https://www.w3.org/wiki/WebAccessControl"]],"content":"I believe the way we do paywalls can be improved if you consider how the web was designed. \n\n401 = forbidden\n402 = payment required\n403 = not allowed\n\nConsider that public html is only one form of the web. Think in terms of a unix style permissions system.\n\nThe 401 case is that you dont have access.\nThe 402 case tells you that if you pay you can get access.\nThe 403 case tells you that your user does not (yet) have access\n\nCan you see what's going on here? It's a progression. It's a workflow.\n\nFirst you pay. Then the server adds you to the access control, after the payment is verified.\n\nThis allows you to send your nostr id over the wire, e.g. with NIP-98. And on the server, there is a small glue file (like an inode in unix) that tells the server who has access. New payee, and new access.\n\nThis was built into the web, and I designed it into nostr from day 1. Same system can do much more than paywalls, it's a whole web operating system, that scales massively.\n\nhttps://www.w3.org/wiki/WebAccessControl\n\nnostr:nevent1qvzqqqqqqypzp3hhqal3dxw4pnuj49jjhl4lltq9l35y9w0w8yggnk2ehzk46j8aqy2hwumn8ghj7erfw36x7tnsw43z7un9d3shjqpqep4tlp6lvm332kl2etnutdmdcef3e4jfw7d5hhzvw5p4ehtq0peqzpla7n","sig":"860c7678df3d17528d01069fedd7259b9ab4fbe5dc1184791e02156a17941ad92544243e0690fd8ed524c356e6ae8b08f9086d6914c60b6d7bd10594d452643f"}
👀
This one was indeed North of the ice wall. Toronto, to be specific.
🤙
+
{"created_at":1728213637,"tags":[["imeta","url https:\/\/image.nostr.build\/e988f8687dbc91b1fceabf81b7b8cf6e9acaf384be140b69e5781eb2a8d1d463.jpg","blurhash e#J[L@%M-;WBRj~qayt7RjayxuRjIUayj[ofofRjt7ofofayayt7of","dim 2211x1535"],["t","photography"],["r","https:\/\/image.nostr.build\/e988f8687dbc91b1fceabf81b7b8cf6e9acaf384be140b69e5781eb2a8d1d463.jpg"]],"kind":1,"sig":"70596bd469bfa6d349804c4e34a37b3fe84389800531031d470cfc8afdee460ee4f2b6c228998e7e2dcfd2973a6bc039234c4e6c4a245f91303f65743d728596","pubkey":"e62f419a0e16607b96ff10ecb00249af7d4b69c7d121e4b04130c61cc998c32e","id":"edcf3be7a89d89ea3179e19829b3e42ba28fc33b77a8a6cc23349818fd5cdea2","content":"Nishiarai Daishi \ncamera Olympus μ[mju:]\nfilm ILFORD DELTA 400\n#photography https:\/\/image.nostr.build\/e988f8687dbc91b1fceabf81b7b8cf6e9acaf384be140b69e5781eb2a8d1d463.jpg "}
😱สมคำร่ำลือ! สำหรับทอล์คโชว์ที่ดีที่สุดแห่งปีของ อ.ตั๊ม พิริยะ บิตคอยเนอร์ตัวพ่อของเมืองไทยกับ 3 ชั่วโมงที่ฟังแล้วไม่อยากขอเวลาคืน (ทอล์คต่ออีกได้ไหม...) . "Exit The Matrix" อยากหลุดพ้น...หรือวนลูปเดิม? 🤔ฟังไปสะอึกไป อ.ตั๊ม ฉายเดี่ยวครบทุกอรรถรส เผ็ด หวาน มัน ฮา จัดจ้านสะท้านทรวง เป็นอีกหนึ่งอาหารจานเด็ด ให้คุณได้ลองชิมผ่านเลนส์เศรษฐศาสตร์ สำนักออสเตรียน . ที่แน่นอนว่าหลายๆ อย่างนี่ #อุบร๊ะ! มันช่างขัดแย้งกับที่เราเคยร่ำเรียนมาเสียจริง! หลายแง่มุมที่เราได้อ่านน่าจะกระตุ้น “ต่อมเอ๊ะ!?” ให้เราลองหาคำตอบเพิ่มเติมกันต่อ . หากว่าคุณพร้อมแล้ว…นี่คือ “กุญแจดอกแรก” . . 1.การเข้าใจว่า “โลกนี้ทำงานอย่างไร” มันจะเปลี่ยน “มุมมอง” ของคุณต่อโลกนี้ไป ตลอดกาล . 2.ลองนึกถึงชีวิตมนุษยชาติในทุกวันนี้อยู่ใน “ระบบที่ภาครัฐดูแล” ​และบอกเราว่าอะไรทำได้ไม่ได้และดูแลสวัสดิ การใช้ชีวิตไม่มีอิสรภาพตกอยู่ในสภาวะ “ทาส” 3.“ทาส” คือคนที่ไม่มีอิสรภาพคำว่า “อิสรภาพ” คือสิทธิในการที่คุณจะสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับตัวเลือกในชีวิตด้วยตัวเอง และรับผลกระทบด้วยตัวคุณเอง . 4.ยุคนี้มันไม่ใช่การควบคุมทาสด้วยโซ่ตรวนหรือกฎหมายแต่ “เงิน” คือสิ่งที่ผู้คุมอำนาจใช้เป็นเครื่องมือควบคุมมนุษย์เปรียบเสมือน “ระบบทาสยุคใหม่” . 5.ทรัพยากรที่สำคัญที่สุดในชีวิตมนุษย์คือ “เวลา” เราเคยตั้งคำถามกับตัวเองบ้างไหมว่า “จะหยุดทำงานเมื่อไหร่” ​หรือทำในสิ่งที่ตนเองรักกี่โมง . 6.ทางออกเดียวที่จะทำให้เรา “หลุดพ้น” จากสภาวะที่ถูกควบคุมคือ “การออมเงิน” ซึ่งจะนำมาสู่อิสรภาพแต่ “เงินเฟ้อ” กลับกัดกร่อนมูลค่าของเงินลดลงเรื่อยๆ 7.“เงินเฟ้อ” ทำให้การเก็บออมเป็นเรื่องยากมากขึ้น และทำให้คนต้องทำงานไปตลอดชีวิตเพื่อมีรายได้เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น . 8.การพิมพ์เงินเพิ่มของรัฐบาลเป็นสาเหตุหลักของเงินเฟ้อ โดยเฉพาะหลังการยกเลิกมาตรฐานทองคำในปี 1971 ทำให้รัฐบาลสามารถพิมพ์เงินได้ไม่จำกัด . 9.การพิมพ์เงินเพิ่มมักถูกใช้เป็น “เครื่องมือ” ในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจระยะสั้น แต่ส่งผลเสียในระยะยาว . 10.เงินเฟ้อรุนแรง เกิดขึ้นตลอดประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาในหลายประเทศทำให้ค่าเงินลดลงอย่างรวดเร็วเกิดปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมตามมา . -------------------------------------- 11.รัฐบาลรายงานอัตราเงินเฟ้อโดยใช้ CPI ซึ่งไม่สะท้อนการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าที่แท้จริง เนื่องจากสามารถเปลี่ยนแปลงสินค้าในตะกร้าและควบคุมราคาสินค้า . 12.การควบคุมราคาสินค้าโดยรัฐเพื่อแก้ปัญหาเงินเฟ้อ มักนำไปสู่การขาดแคลนสินค้าและปัญหาทางเศรษฐกิจที่รุนแรงยิ่งขึ้น . 13.เงินเฟ้อทำให้ “ค่าแรงเพิ่มขึ้นช้ากว่าค่าเงินเสื่อม” ส่งผลให้เกิดวัฒนธรรมการเปลี่ยนงานบ่อยเพื่อขึ้นเงินเดือน บริษัทขนาดเล็กกลายเป็นทางผ่าน เกิดปัญหาสมองไหลไปสู่บริษัทใหญ่ . 14.เมื่อสมองไหลไปสู่บริษัทใหญ่ ส่งผลให้ธุรกิจขนาดเล็กรอดได้ยาก ธุรกิจขนาดใหญ่ก็ยิ่งเติบโต ความเหลื่อมล้ำทางรายได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ . 15.เงินเฟ้อสูง ทำให้ผู้คนหาทางรักษามูลค่าเงินด้วยการลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆ เช่น อสังหาฯ หุ้น ทองคำ ทำให้ตลาดสินทรัพย์เหล่านี้เติบโตอย่างรวดเร็ว . 16.กองทุนมักจะเน้นลงทุนในหุ้นใหญ่มากกว่าหุ้นเล็ก เกิดบริษัท "ซอมบี้" ที่มีมูลค่าสูงแต่ไม่สร้างผลผลิตจริง เพราะแม้บริษัทใหญ่แต่บางแห่งแทบจะไม่มี Productivity . 17.ทั้งหมดก็มาจาก “เงิน”​ เงินที่ดีต้องทำหน้าที่ 3 ประการคือ เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เก็บมูลค่าและเป็นหน่วยวัดมูลค่าทำให้เราวางแผนอนาคตได้ . 18.แต่ปัญหาของ“เงิน”ในทุกวันนี้ นอกเหนือจากเสื่อมค่าลงทุกปีแล้วเราไม่รู้ว่ามันจะเสื่อมค่าต่อปีเท่าไหร่ การวางแผนชีวิตระยะยาวจึงเป็นไปได้ยากมาก . 19.แม้แต่สหรัฐฯ ก็เผชิญปัญหาเงินเฟ้อรุนแรงในช่วงโควิด แค่ปีเดียวปริมาณเงินเพิ่มขึ้น 43% มูลค่าเงินลดลงเกือบครึ่งโดยที่ปชช.ไม่รู้ตัว ตอนนี้ราคาสินค้ากำลังเพิ่มขึ้น . 20.เงินเฟ้อเป็นการลงโทษคนที่เก็บออมแต่ให้รางวัลกับคนที่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยคล้ายกับระบบทาสที่ผู้คุมให้เงินพอยังชีพแต่คุมราคาสินค้า ทำให้ออมยาก รวยก็ยาก . -------------------------------------- 21.การควบคุมปริมาณเงินเป็นเครื่องมือควบคุมสังคม มีการทดลองในค่ายกักกันทหารที่ใช้บุหรี่เป็นเงินพบว่า การเพิ่มปริมาณบุหรี่ทำให้โครงสร้างอำนาจในค่ายเปลี่ยนแปลง . 22.เมื่อมีผู้ผลิตเงินเป็นรัฐบาล แล้วสามารถใช้การควบคุมปริมาณเงินในการควบคุมสังคมได้ รัฐบาลจะกลายเป็นลูกค้าสำหรับทุกสิ่งทุกอย่าง แทนที่จะเป็นประชาชน . 23.ระบบการศึกษาและระบบสุขภาพถูกบิดเบือนเมื่อรัฐบาลเป็นผู้จ่ายเงิน เน้นวัดที่ปริมาณผู้ที่เรียนจบตามเคพีไอรัฐ ไม่ได้ตอบสนองความต้องการของประชาชน . 24.ประวัติศาสตร์นับครั้งไม่ถ้วนบอกเราว่า การทำให้เงินเฟ้อหรือการที่รัฐบาลใช้เงินเป็นเครื่องมือในการปกครอง สร้างให้เกิดจุดจบของอารยธรรม . 25.เงินฝืด ถูกมองว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดีแต่จริงๆ แล้วอาจเป็นสิ่งที่ดีสำหรับประชาชน เพราะทำให้สินค้าราคาถูกลงและเงินออมมีค่ามากขึ้น . 26.การใช้ “ทองคำ” เป็นมาตรฐานเงินตราช่วยให้เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและนวัตกรรมในช่วงศตวรรษที่ 18-19 แต่การยกเลิกมาตรฐานทองคำทำให้เกิดปัญหาเงินเฟ้อ . 27.เงินเฟ้อทำให้การลงทุนระยะยาว และการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ลดลง เนื่องจากนักลงทุนต้องการผลตอบแทนเร็วเพื่อชดเชยค่าเงินที่เสื่อมลง . 28.การพัฒนาทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมในช่วงศตวรรษที่ 20 ช้าลง เมื่อเทียบกับศตวรรษก่อนหน้า เนื่องจากระบบเงินที่ไม่มั่นคง . 29.ระบบเงินที่มั่นคงจะช่วยให้คนมีอิสรภาพในการเลือกทำงานที่ตนรัก และส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมและธุรกิจใหม่ๆ . 30.การเก็บออมในทองคำและที่ดินเป็นวิธีรักษามูลค่าเงินที่ดี แต่ก็จะมีกฎหมายควบคุม เช่น ภาษีที่ดินซึ่งอาจกระทบต่อเจ้าของที่ดินรายย่อยมากกว่านายทุน . -------------------------------------- 31.ในปี 2008 มีการเผยแพร่แนวคิดการสร้างเงินอิเล็กทรอนิกส์แบบ peer-to-peer โดยบุคคลนิรนามชื่อ “ซาโตชิ นากาโมโต” สิ่งนั้นคือ “บิตคอยน์” . 32.ก่อนหน้านี้กลุ่ม Cypherpunks เคยพยายามสร้างเงินตามแนวคิดนี้แต่ไม่สำเร็จพวกเขาเป็นกลุ่มโปรแกรมเมอร์ที่ต่อต้านการควบคุมของรัฐบาล พัฒนาเทคฯ เพื่อปกป้องความเป็นส่วนตัว . 33.บิตคอยน์มีอุปทานจำกัดอยู่ที่ 21 ล้านเหรียญและไม่มีใครสามารถผลิตขึ้นมาได้โดยที่ไม่มีต้นทุน ทุกคนต้องทำ PoW ใช้ไฟ ใช้พลังงานสร้าง Productivity . 34.การมีจำกัดหมายความว่าคุณมี 1 บิตคอยน์ในวันนี้ผ่านไป 100 ปีก็ยังมี 1 ใน 21 ล้านเหรียญเหมือนเดิม เป็นนโยบายการเงินที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ . 35.นโยบายการเงินนั้นๆ จะทำให้ “เงินเฟ้อหรือเงินฝืด” ไม่สำคัญเท่ากับการเป็นนโยบายการเงินที่ “สามารถคาดเดาได้” เพราะทำให้ผู้คนสามารถวางแผนอนาคตได้ . 36.ปัจจุบัน bitcoin ถูกผลิตออกมาแล้ว 94% เหลืออีกประมาณ 1.2 ล้าน bitcoin ที่จะทยอยออกมาในอีกประมาณ 120 ปีต่อจากนี้ . 37.บิตคอยน์อยู่รอดมาได้ 15 ปีและสามารถเจริญเติบโตขึ้นมาเป็นสินทรัพย์ที่มีมูลค่าตลาด ณ ปัจจุบันอันดับ 10 ของโลกแล้ว . 38.มูลค่าบิตคอยน์เทียบดอลลาร์ราคาอาจจะแกว่ง แต่ถ้าเทียบ 1 บิตคอยน์ = 1 บิตคอยน์จากทั้งหมด 21 ล้านบิตคอยน์ มันก็จะมีเท่านั้นตลอดไป . 39.หนังสือ The Bitcoin Standard ที่แปลเล่มแรก อ.ตั๊ม พยายามหาสำนักพิมพ์ที่จะตีพิมพ์แต่ส่วนใหญ่ปฏิเสธบอกว่าไม่ยุ่งกับ scam แต่มีซีเอ็ดยอมพิมพ์ให้ . 40.โดยสรุป “คุณจะออมเป็นอะไรก็ได้” แต่ขอให้เข้าใจในสิ่งที่ออม และหากบอกว่าไม่มีเงินแต่อยากออม bitcoin ก็ลองพิจารณาคำพูดของพี่วิชิตบิตคอยเนอร์ตัวพ่อที่มักบอกอยู่เสมอว่า ​“แดกก่อนเก็บ!” . . 😃เอาล่ะ! จากนี้ไป “กุญแจดอกที่สอง” อยู่ในมือคุณแล้ว อยู่ที่คุณจะไขมันลึกลงเพียงใด หรือจะหยุดมันไว้เพียงเท่านี้… ------------------------------------------------ 👉หากไม่สาแก่ใจตามไปตาแฉะหูชื้นกัน 3 ชั่วโมงเต็มที่ช่องยูทูบ Right Shift ตอน "Exit The Matrix" อยากหลุดพ้น...หรือวนลูปเดิม? https://www.youtube.com/watch?v=1sFX_VsHHvY&t=4040s ------------------------------------------------ 👉อัปเดตข่าว ก้าวทันโลกสินทรัพย์ดิจิทัล ได้ที่นี่ https://www.efinancethai.com/LastestNews/Crypto.aspx *การลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลมีความเสี่ยงสูง ผู้สนใจควรศึกษาข้อมูลและประเมินความเสี่ยงก่อนตัดสินใจลงทุน #คริปโต #คริปโท #สกุลเงินดิจิตอล #บล็อกเชน #สินทรัพย์ดิจิทัล #โทเคน #บิตคอยน์ #บิทคอยน์ #เงินดิจิตอล #Bitcoin #BTC #Ethereum #ETH #Ether #Crypto #Blockchain #DigitalAsset #AI #Cybersecurity #ฟินเทค #efinanceThai #อีไฟแนนซ์ไทย @siamstr ------------------------------------------------ 👉มาค้นหาโอกาสใหม่ๆ ไปด้วยกัน! ที่งาน BetterTrade 2024 : The Next Wealth Opportunity 👉ลงทะเบียนฟรี : https://bit.ly/BTT2024Piriya 👉วันที่ 2 พฤศจิกายน 2024 Samyan Mitrtown Hall ชั้น5 https://image.nostr.build/309f87af437d7b6c93e3a387613fa8193f0419edf5c9fd61f977975ef37807bf.jpg
😱สมคำร่ำลือ! สำหรับทอล์คโชว์ที่ดีที่สุดแห่งปีของ อ.ตั๊ม พิริยะ บิตคอยเนอร์ตัวพ่อของเมืองไทยกับ 3 ชั่วโมงที่ฟังแล้วไม่อยากขอเวลาคืน (ทอล์คต่ออีกได้ไหม...) . "Exit The Matrix" อยากหลุดพ้น...หรือวนลูปเดิม? 🤔ฟังไปสะอึกไป อ.ตั๊ม ฉายเดี่ยวครบทุกอรรถรส เผ็ด หวาน มัน ฮา จัดจ้านสะท้านทรวง เป็นอีกหนึ่งอาหารจานเด็ด ให้คุณได้ลองชิมผ่านเลนส์เศรษฐศาสตร์ สำนักออสเตรียน . ที่แน่นอนว่าหลายๆ อย่างนี่ #อุบร๊ะ! มันช่างขัดแย้งกับที่เราเคยร่ำเรียนมาเสียจริง! หลายแง่มุมที่เราได้อ่านน่าจะกระตุ้น “ต่อมเอ๊ะ!?” ให้เราลองหาคำตอบเพิ่มเติมกันต่อ . หากว่าคุณพร้อมแล้ว…นี่คือ “กุญแจดอกแรก” . . 1.การเข้าใจว่า “โลกนี้ทำงานอย่างไร” มันจะเปลี่ยน “มุมมอง” ของคุณต่อโลกนี้ไป ตลอดกาล . 2.ลองนึกถึงชีวิตมนุษยชาติในทุกวันนี้อยู่ใน “ระบบที่ภาครัฐดูแล” ​และบอกเราว่าอะไรทำได้ไม่ได้และดูแลสวัสดิ การใช้ชีวิตไม่มีอิสรภาพตกอยู่ในสภาวะ “ทาส” 3.“ทาส” คือคนที่ไม่มีอิสรภาพคำว่า “อิสรภาพ” คือสิทธิในการที่คุณจะสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับตัวเลือกในชีวิตด้วยตัวเอง และรับผลกระทบด้วยตัวคุณเอง . 4.ยุคนี้มันไม่ใช่การควบคุมทาสด้วยโซ่ตรวนหรือกฎหมายแต่ “เงิน” คือสิ่งที่ผู้คุมอำนาจใช้เป็นเครื่องมือควบคุมมนุษย์เปรียบเสมือน “ระบบทาสยุคใหม่” . 5.ทรัพยากรที่สำคัญที่สุดในชีวิตมนุษย์คือ “เวลา” เราเคยตั้งคำถามกับตัวเองบ้างไหมว่า “จะหยุดทำงานเมื่อไหร่” ​หรือทำในสิ่งที่ตนเองรักกี่โมง . 6.ทางออกเดียวที่จะทำให้เรา “หลุดพ้น” จากสภาวะที่ถูกควบคุมคือ “การออมเงิน” ซึ่งจะนำมาสู่อิสรภาพแต่ “เงินเฟ้อ” กลับกัดกร่อนมูลค่าของเงินลดลงเรื่อยๆ 7.“เงินเฟ้อ” ทำให้การเก็บออมเป็นเรื่องยากมากขึ้น และทำให้คนต้องทำงานไปตลอดชีวิตเพื่อมีรายได้เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น . 8.การพิมพ์เงินเพิ่มของรัฐบาลเป็นสาเหตุหลักของเงินเฟ้อ โดยเฉพาะหลังการยกเลิกมาตรฐานทองคำในปี 1971 ทำให้รัฐบาลสามารถพิมพ์เงินได้ไม่จำกัด . 9.การพิมพ์เงินเพิ่มมักถูกใช้เป็น “เครื่องมือ” ในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจระยะสั้น แต่ส่งผลเสียในระยะยาว . 10.เงินเฟ้อรุนแรง เกิดขึ้นตลอดประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาในหลายประเทศทำให้ค่าเงินลดลงอย่างรวดเร็วเกิดปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมตามมา . -------------------------------------- 11.รัฐบาลรายงานอัตราเงินเฟ้อโดยใช้ CPI ซึ่งไม่สะท้อนการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าที่แท้จริง เนื่องจากสามารถเปลี่ยนแปลงสินค้าในตะกร้าและควบคุมราคาสินค้า . 12.การควบคุมราคาสินค้าโดยรัฐเพื่อแก้ปัญหาเงินเฟ้อ มักนำไปสู่การขาดแคลนสินค้าและปัญหาทางเศรษฐกิจที่รุนแรงยิ่งขึ้น . 13.เงินเฟ้อทำให้ “ค่าแรงเพิ่มขึ้นช้ากว่าค่าเงินเสื่อม” ส่งผลให้เกิดวัฒนธรรมการเปลี่ยนงานบ่อยเพื่อขึ้นเงินเดือน บริษัทขนาดเล็กกลายเป็นทางผ่าน เกิดปัญหาสมองไหลไปสู่บริษัทใหญ่ . 14.เมื่อสมองไหลไปสู่บริษัทใหญ่ ส่งผลให้ธุรกิจขนาดเล็กรอดได้ยาก ธุรกิจขนาดใหญ่ก็ยิ่งเติบโต ความเหลื่อมล้ำทางรายได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ . 15.เงินเฟ้อสูง ทำให้ผู้คนหาทางรักษามูลค่าเงินด้วยการลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆ เช่น อสังหาฯ หุ้น ทองคำ ทำให้ตลาดสินทรัพย์เหล่านี้เติบโตอย่างรวดเร็ว . 16.กองทุนมักจะเน้นลงทุนในหุ้นใหญ่มากกว่าหุ้นเล็ก เกิดบริษัท "ซอมบี้" ที่มีมูลค่าสูงแต่ไม่สร้างผลผลิตจริง เพราะแม้บริษัทใหญ่แต่บางแห่งแทบจะไม่มี Productivity . 17.ทั้งหมดก็มาจาก “เงิน”​ เงินที่ดีต้องทำหน้าที่ 3 ประการคือ เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เก็บมูลค่าและเป็นหน่วยวัดมูลค่าทำให้เราวางแผนอนาคตได้ . 18.แต่ปัญหาของ“เงิน”ในทุกวันนี้ นอกเหนือจากเสื่อมค่าลงทุกปีแล้วเราไม่รู้ว่ามันจะเสื่อมค่าต่อปีเท่าไหร่ การวางแผนชีวิตระยะยาวจึงเป็นไปได้ยากมาก . 19.แม้แต่สหรัฐฯ ก็เผชิญปัญหาเงินเฟ้อรุนแรงในช่วงโควิด แค่ปีเดียวปริมาณเงินเพิ่มขึ้น 43% มูลค่าเงินลดลงเกือบครึ่งโดยที่ปชช.ไม่รู้ตัว ตอนนี้ราคาสินค้ากำลังเพิ่มขึ้น . 20.เงินเฟ้อเป็นการลงโทษคนที่เก็บออมแต่ให้รางวัลกับคนที่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยคล้ายกับระบบทาสที่ผู้คุมให้เงินพอยังชีพแต่คุมราคาสินค้า ทำให้ออมยาก รวยก็ยาก . -------------------------------------- 21.การควบคุมปริมาณเงินเป็นเครื่องมือควบคุมสังคม มีการทดลองในค่ายกักกันทหารที่ใช้บุหรี่เป็นเงินพบว่า การเพิ่มปริมาณบุหรี่ทำให้โครงสร้างอำนาจในค่ายเปลี่ยนแปลง . 22.เมื่อมีผู้ผลิตเงินเป็นรัฐบาล แล้วสามารถใช้การควบคุมปริมาณเงินในการควบคุมสังคมได้ รัฐบาลจะกลายเป็นลูกค้าสำหรับทุกสิ่งทุกอย่าง แทนที่จะเป็นประชาชน . 23.ระบบการศึกษาและระบบสุขภาพถูกบิดเบือนเมื่อรัฐบาลเป็นผู้จ่ายเงิน เน้นวัดที่ปริมาณผู้ที่เรียนจบตามเคพีไอรัฐ ไม่ได้ตอบสนองความต้องการของประชาชน . 24.ประวัติศาสตร์นับครั้งไม่ถ้วนบอกเราว่า การทำให้เงินเฟ้อหรือการที่รัฐบาลใช้เงินเป็นเครื่องมือในการปกครอง สร้างให้เกิดจุดจบของอารยธรรม . 25.เงินฝืด ถูกมองว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดีแต่จริงๆ แล้วอาจเป็นสิ่งที่ดีสำหรับประชาชน เพราะทำให้สินค้าราคาถูกลงและเงินออมมีค่ามากขึ้น . 26.การใช้ “ทองคำ” เป็นมาตรฐานเงินตราช่วยให้เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและนวัตกรรมในช่วงศตวรรษที่ 18-19 แต่การยกเลิกมาตรฐานทองคำทำให้เกิดปัญหาเงินเฟ้อ . 27.เงินเฟ้อทำให้การลงทุนระยะยาว และการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ลดลง เนื่องจากนักลงทุนต้องการผลตอบแทนเร็วเพื่อชดเชยค่าเงินที่เสื่อมลง . 28.การพัฒนาทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมในช่วงศตวรรษที่ 20 ช้าลง เมื่อเทียบกับศตวรรษก่อนหน้า เนื่องจากระบบเงินที่ไม่มั่นคง . 29.ระบบเงินที่มั่นคงจะช่วยให้คนมีอิสรภาพในการเลือกทำงานที่ตนรัก และส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมและธุรกิจใหม่ๆ . 30.การเก็บออมในทองคำและที่ดินเป็นวิธีรักษามูลค่าเงินที่ดี แต่ก็จะมีกฎหมายควบคุม เช่น ภาษีที่ดินซึ่งอาจกระทบต่อเจ้าของที่ดินรายย่อยมากกว่านายทุน . -------------------------------------- 31.ในปี 2008 มีการเผยแพร่แนวคิดการสร้างเงินอิเล็กทรอนิกส์แบบ peer-to-peer โดยบุคคลนิรนามชื่อ “ซาโตชิ นากาโมโต” สิ่งนั้นคือ “บิตคอยน์” . 32.ก่อนหน้านี้กลุ่ม Cypherpunks เคยพยายามสร้างเงินตามแนวคิดนี้แต่ไม่สำเร็จพวกเขาเป็นกลุ่มโปรแกรมเมอร์ที่ต่อต้านการควบคุมของรัฐบาล พัฒนาเทคฯ เพื่อปกป้องความเป็นส่วนตัว . 33.บิตคอยน์มีอุปทานจำกัดอยู่ที่ 21 ล้านเหรียญและไม่มีใครสามารถผลิตขึ้นมาได้โดยที่ไม่มีต้นทุน ทุกคนต้องทำ PoW ใช้ไฟ ใช้พลังงานสร้าง Productivity . 34.การมีจำกัดหมายความว่าคุณมี 1 บิตคอยน์ในวันนี้ผ่านไป 100 ปีก็ยังมี 1 ใน 21 ล้านเหรียญเหมือนเดิม เป็นนโยบายการเงินที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ . 35.นโยบายการเงินนั้นๆ จะทำให้ “เงินเฟ้อหรือเงินฝืด” ไม่สำคัญเท่ากับการเป็นนโยบายการเงินที่ “สามารถคาดเดาได้” เพราะทำให้ผู้คนสามารถวางแผนอนาคตได้ . 36.ปัจจุบัน bitcoin ถูกผลิตออกมาแล้ว 94% เหลืออีกประมาณ 1.2 ล้าน bitcoin ที่จะทยอยออกมาในอีกประมาณ 120 ปีต่อจากนี้ . 37.บิตคอยน์อยู่รอดมาได้ 15 ปีและสามารถเจริญเติบโตขึ้นมาเป็นสินทรัพย์ที่มีมูลค่าตลาด ณ ปัจจุบันอันดับ 10 ของโลกแล้ว . 38.มูลค่าบิตคอยน์เทียบดอลลาร์ราคาอาจจะแกว่ง แต่ถ้าเทียบ 1 บิตคอยน์ = 1 บิตคอยน์จากทั้งหมด 21 ล้านบิตคอยน์ มันก็จะมีเท่านั้นตลอดไป . 39.หนังสือ The Bitcoin Standard ที่แปลเล่มแรก อ.ตั๊ม พยายามหาสำนักพิมพ์ที่จะตีพิมพ์แต่ส่วนใหญ่ปฏิเสธบอกว่าไม่ยุ่งกับ scam แต่มีซีเอ็ดยอมพิมพ์ให้ . 40.โดยสรุป “คุณจะออมเป็นอะไรก็ได้” แต่ขอให้เข้าใจในสิ่งที่ออม และหากบอกว่าไม่มีเงินแต่อยากออม bitcoin ก็ลองพิจารณาคำพูดของพี่วิชิตบิตคอยเนอร์ตัวพ่อที่มักบอกอยู่เสมอว่า ​“แดกก่อนเก็บ!” . . 😃เอาล่ะ! จากนี้ไป “กุญแจดอกที่สอง” อยู่ในมือคุณแล้ว อยู่ที่คุณจะไขมันลึกลงเพียงใด หรือจะหยุดมันไว้เพียงเท่านี้… ------------------------------------------------ 👉หากไม่สาแก่ใจตามไปตาแฉะหูชื้นกัน 3 ชั่วโมงเต็มที่ช่องยูทูบ Right Shift ตอน "Exit The Matrix" อยากหลุดพ้น...หรือวนลูปเดิม? https://www.youtube.com/watch?v=1sFX_VsHHvY&t=4040s ------------------------------------------------ 👉อัปเดตข่าว ก้าวทันโลกสินทรัพย์ดิจิทัล ได้ที่นี่ https://www.efinancethai.com/LastestNews/Crypto.aspx *การลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลมีความเสี่ยงสูง ผู้สนใจควรศึกษาข้อมูลและประเมินความเสี่ยงก่อนตัดสินใจลงทุน #คริปโต #คริปโท #สกุลเงินดิจิตอล #บล็อกเชน #สินทรัพย์ดิจิทัล #โทเคน #บิตคอยน์ #บิทคอยน์ #เงินดิจิตอล #Bitcoin #BTC #Ethereum #ETH #Ether #Crypto #Blockchain #DigitalAsset #AI #Cybersecurity #ฟินเทค #efinanceThai #อีไฟแนนซ์ไทย @siamstr ------------------------------------------------ 👉มาค้นหาโอกาสใหม่ๆ ไปด้วยกัน! ที่งาน BetterTrade 2024 : The Next Wealth Opportunity 👉ลงทะเบียนฟรี : https://bit.ly/BTT2024Piriya 👉วันที่ 2 พฤศจิกายน 2024 Samyan Mitrtown Hall ชั้น5 https://image.nostr.build/309f87af437d7b6c93e3a387613fa8193f0419edf5c9fd61f977975ef37807bf.jpg
next
prev

rendered in 34.895463ms